เส้นใยฝ้าย ( Cotton Fiber )
ฝ้ายเป็นพืชเส้นใยที่มีความสำคัญอย่างยิ่งและเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในโลก ฝ้ายมีถิ่นกำเนิดอยู่ในอเมริกากลางและเอเชียตอนใต้ ฝ้ายถูกใช้ในการทำเครื่องนุ่งห่มหรือสิ่งทออื่นๆ
สำหรับในวิถีชีวิตของคนไทย...
1 การคัดเลือกเปลือกต้นกฤษณา
1.1 เลือกเปลือกสดหรือผ่านการต้มมาแล้ว
1.2 เจียร / ขูด ผิวเปลือกนอกสุดออกให้หมด ก่อนดำเนินการตามข้อ 2
2 การหมักเปลือกกฤษณา
2.1 ใช้ NaOH 20 – 30 % : น้ำ 1 ลิตร
2.2 ใช้เวลาแช่เปลือกกฤษณา 15 วัน
2.3 ล้าง NaOH ด้วยน้ำสะอาดจนกว่าจะหมด และ ขูดเปลือกผิวนอกออกให้หมด
2.4 นำเปลือกกฤษณาเข้าสู่กระบวนการข้อ 3
3 การหมักเส้นใยกฤษณา
3.1 ล้างทำความสะอาดด้วยน้ำเปล่าจนกว่าสาร NaOH จะหมด
3.2 แช่น้ำเปล่าทิ้งไว้ประมาณ 15 วัน
4 การตาก –ตัด เส้นใยกฤษณา
4.1 นำเส้นใยกฤษณามาตากให้แห้ง
4.2 นำเส้นใยกฤษณา จาก ข้อ 4.1 มาตัดด้วยความยาว 51 ม.ม.
5 การฟอกขาวเส้นใยกฤษณา
5.1 นำเส้นในใยจากข้อ 4.2 ไปทำการฟอกขาวด้วย H2 O2 20 % SOLUTION อุณหภูมิ
90 องศา เวลา 45 นาที
6 การนวดเส้นใย
6.1 ต้องการให้เส้นใยกฤษณามีความนุ่ม และ การกระจายตัวเวลาผสมที่ MIXING ROOM
6.2 นวดด้วยเครื่อง ROLLER CARD 3-4 รอบ
7 การเก็บเส้นใยกฤษณา
7.1 นำเส้นใยบรรจุเก็บใส่ถุงไว้ให้เรียบร้อย เพื่อเตรียมนำเข้าสู่กระบวนการผลิตต่อไป
นายประจักษ์ แอกทอง
นายบัณฑิต พงศาโรจนวิทย์
10 มีนาคม 2552
ย้อนกลับ ... โครงการวิจัยเส้นใยธรรมชาติ (Eco Textile)
1.1 เลือกเปลือกสดหรือผ่านการต้มมาแล้ว
1.2 เจียร / ขูด ผิวเปลือกนอกสุดออกให้หมด ก่อนดำเนินการตามข้อ 2
2 การหมักเปลือกกฤษณา
2.1 ใช้ NaOH 20 – 30 % : น้ำ 1 ลิตร
2.2 ใช้เวลาแช่เปลือกกฤษณา 15 วัน
2.3 ล้าง NaOH ด้วยน้ำสะอาดจนกว่าจะหมด และ ขูดเปลือกผิวนอกออกให้หมด
2.4 นำเปลือกกฤษณาเข้าสู่กระบวนการข้อ 3
3 การหมักเส้นใยกฤษณา
3.1 ล้างทำความสะอาดด้วยน้ำเปล่าจนกว่าสาร NaOH จะหมด
3.2 แช่น้ำเปล่าทิ้งไว้ประมาณ 15 วัน
4 การตาก –ตัด เส้นใยกฤษณา
4.1 นำเส้นใยกฤษณามาตากให้แห้ง
4.2 นำเส้นใยกฤษณา จาก ข้อ 4.1 มาตัดด้วยความยาว 51 ม.ม.
5 การฟอกขาวเส้นใยกฤษณา
5.1 นำเส้นในใยจากข้อ 4.2 ไปทำการฟอกขาวด้วย H2 O2 20 % SOLUTION อุณหภูมิ
90 องศา เวลา 45 นาที
6 การนวดเส้นใย
6.1 ต้องการให้เส้นใยกฤษณามีความนุ่ม และ การกระจายตัวเวลาผสมที่ MIXING ROOM
6.2 นวดด้วยเครื่อง ROLLER CARD 3-4 รอบ
7 การเก็บเส้นใยกฤษณา
7.1 นำเส้นใยบรรจุเก็บใส่ถุงไว้ให้เรียบร้อย เพื่อเตรียมนำเข้าสู่กระบวนการผลิตต่อไป
นายประจักษ์ แอกทอง
นายบัณฑิต พงศาโรจนวิทย์
10 มีนาคม 2552
ย้อนกลับ ... โครงการวิจัยเส้นใยธรรมชาติ (Eco Textile)
1 การคัดลูกตาล
1.1 เลือกลูกตาลที่สุกงอม
2 การแยกเส้นใยลูกตาล
2.1 นำลูกตาลจากข้อ 1.1 มาล้างทำความสะอาดด้วยน้ำเปล่า
2.2 เตรียมภาชนะและ น้ำเปล่า
2.3 ลอกเปลือกชั้นนอกของลูกตาลออกให้หมด
2.4 ยีเส้นใยลูกตาลจนเนื้อลูกตาลออกหมด แล้วล้างน้ำให้สะอาดอีกครั้ง
2.5 นำเส้นใยลูกตาลจากข้อ 2.4 แช่น้ำเปล่าทิ้งไว้ ประมาณ 10-14 วัน ( ตากแดด )
2.6 ทำความสะอาดเส้นใยลูกตาล และ หวี จนเนื้อใยของตาลออกหมดและ ล้างน้ำให้สะอาด
อย่าให้มีเนื้อใยลูกตาลติดอยู่ที่เส้นใยลูกตาล
3 การตากเส้นใยลูกตาล
3.1 นำเส้นใยลูกตาลจากข้อ 2.6 ไปตากแดดจนเส้นใยลูกตาลแห้งสนิท
4 การนวดเส้นใย
4.1 นำเส้นใยลูกตาลจากข้อ 3.1 เข้าเครื่อง RECYLING 2 รอบ
4.2 นำเส้นใยลูกตาลจากข้อ 4.1 เข้าเครื่อง ROLLER CARD 2 รอบ
5 การเก็บเส้นใยลูกตาล
5.1 นำเส้นใยลูกตาลบรรจุเก็บใส่ถุงไว้ให้เรียบร้อย
6 การลงน้ำยา SOFTENNER ของเส้นใยลูกตาล
6.1 ใช้ น้ำยา SOFTENNER - NCS - 81 30 กรัม/น้ำ 1 ลิตร
6.2 แช่ไว้ 2 ช.ม.
6.3 นำเส้นใยลูกตาลตากให้แห้งสนิท
นายบัณฑิต พงศาโรจนวิทย์
นายประจักษ์ แอกทอง
ผู้วิจัย
30 พ.ค. 2551
ย้อนกลับ ... โครงการวิจัยเส้นใยธรรมชาติ (Eco Textile)
1.1 เลือกลูกตาลที่สุกงอม
2 การแยกเส้นใยลูกตาล
2.1 นำลูกตาลจากข้อ 1.1 มาล้างทำความสะอาดด้วยน้ำเปล่า
2.2 เตรียมภาชนะและ น้ำเปล่า
2.3 ลอกเปลือกชั้นนอกของลูกตาลออกให้หมด
2.4 ยีเส้นใยลูกตาลจนเนื้อลูกตาลออกหมด แล้วล้างน้ำให้สะอาดอีกครั้ง
2.5 นำเส้นใยลูกตาลจากข้อ 2.4 แช่น้ำเปล่าทิ้งไว้ ประมาณ 10-14 วัน ( ตากแดด )
2.6 ทำความสะอาดเส้นใยลูกตาล และ หวี จนเนื้อใยของตาลออกหมดและ ล้างน้ำให้สะอาด
อย่าให้มีเนื้อใยลูกตาลติดอยู่ที่เส้นใยลูกตาล
3 การตากเส้นใยลูกตาล
3.1 นำเส้นใยลูกตาลจากข้อ 2.6 ไปตากแดดจนเส้นใยลูกตาลแห้งสนิท
4 การนวดเส้นใย
4.1 นำเส้นใยลูกตาลจากข้อ 3.1 เข้าเครื่อง RECYLING 2 รอบ
4.2 นำเส้นใยลูกตาลจากข้อ 4.1 เข้าเครื่อง ROLLER CARD 2 รอบ
5 การเก็บเส้นใยลูกตาล
5.1 นำเส้นใยลูกตาลบรรจุเก็บใส่ถุงไว้ให้เรียบร้อย
6 การลงน้ำยา SOFTENNER ของเส้นใยลูกตาล
6.1 ใช้ น้ำยา SOFTENNER - NCS - 81 30 กรัม/น้ำ 1 ลิตร
6.2 แช่ไว้ 2 ช.ม.
6.3 นำเส้นใยลูกตาลตากให้แห้งสนิท
นายบัณฑิต พงศาโรจนวิทย์
นายประจักษ์ แอกทอง
ผู้วิจัย
30 พ.ค. 2551
ย้อนกลับ ... โครงการวิจัยเส้นใยธรรมชาติ (Eco Textile)